เริ่มต้นเช้าแห่งการเรียนรู้วันเสาร์ที่ 22 เมษายน 2560
Day 1
เริ่มเช้าวันแรกด้วยการทำ จิตศึกษา
Brain Gym นับ 1-10,นับเป็ด,กระต่ายกับโพรง
ต่อบล็อกสร้างบ้าน
หลังจากนั้นกลับขึ้นไปที่ห้องประชุม ครูต๋อยกล่าวทักทายสวัสดีทุกคนด้วยเพลง "สวัสดี" พาเล่นกิจกรรมในช่วงขั้นเตรียมความพร้อมด้วย 16 ท่ารักงอมแงม กลมกลมและเหลี่ยม เพลงเช้าวันหนึ่ง ต่อด้วยการชมวิดีทัศน์ของโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา ชมการการจัดการเรียนการสอน PBL หลังจากนั้นจับกลุ่มศึกษาบทความ อ่านสรุปใจความสำคัญและข้อคิดที่ได้เล่าให้เพื่อนในกลุ่มฟัง เสร็จแล้วพักทานข้าวต่อด้วยช่วงบ่าย เริ่มช่วงบ่ายด้วยการทำ Body scan เสร็จแล้วให้นั่งจับกลุ่มเดิม อบรมต่อเพื่อศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับแผน PBL ในระดับชั้นใดก็ได้ที่ต้องการเลือกมาศึกษา เมื่อเลือกได้แล้วครูให้ศึกษาหัวข้อ กระบวนการ ขั้นตอนการทำ PBLให้ในกลุ่มช่วยกันศึกษา และเริ่มจัดทำแผน PBL กลุ่ม
PBL - Professional Learning Community
ครูต๋อยแจกกระดาษ(ใบเสร็จรีไซเคิล) แล้วถามแต่ละกลุ่มว่าสิ่งที่แจกไปคืออะไร ลองช่วยกันตอบ ช่วยกันสังเกต แล้วให้แต่ละกลุ่มนำกระดาษรีไซเคิลไปทำเป็นกระเป๋า ทนทาน และสามารถใช้งานได้จริง
PBL - Professional Learning Community
ครูต๋อยแจกกระดาษ(ใบเสร็จรีไซเคิล) แล้วถามแต่ละกลุ่มว่าสิ่งที่แจกไปคืออะไร ลองช่วยกันตอบ ช่วยกันสังเกต แล้วให้แต่ละกลุ่มนำกระดาษรีไซเคิลไปทำเป็นกระเป๋า ทนทาน และสามารถใช้งานได้จริง
STEM
web เชื่อมโยง 8 กลุ่มสาระ
webเชื่อมโยง เศรฐศาสตร์ หน้าที่พลเมือง เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
Mind mapping เรื่องกินเป็นปลูกเป็น
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL ( Problem Based Learning)
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ( Quarter 1-2) ปีการศึกษา 2559
หน่วย : กินเป็นปลูกเป็น
คำถามหลัก ( Big Question) : การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ปลอดภัยมีความสำคัญ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา : ในยุคปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีการพัฒนาอาหาร แปรรูปอย่างมากมายแต่จะมีสักกี่ประเภทที่ปลอดภัยไร้สารเคมี ใส่ใจผู้บริโภคอย่างแท้จริง จึงทำให้ผู้คนหันมาปลูกเอง ทำเอง กินเองมากขึ้น เพื่อสุขภาพ ความปลอดภัยของตนเองและคนรอบข้าง ฉะนั้นการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิต
ดังนั้นการได้เรียนรู้เรื่องกินเป็นปลูกเป็นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพื่อให้นักเรียนตระหนักในการเลือกรับประทานอาหารปลอดสารพิษตลอดจนได้ใช้ทักษะในการดำรงชีวิตและการแก้ปัญหา
เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding goal)
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการเลือกรับประทานอาหารการปลูกผักปลอดสารพิษ อีกทั้งตระหนักในการมีสุขภาวะที่ดีทั้งกายและใจ สามารถนำองค์ความรู้มาปรับใช้ในวิถีชีวิต และถ่ายทอดหรือเสนอแนะต่อผู้อื่นได้
ความเข้าใจใหม่
-ชื่อหน่วย
-เป้าหมาย
-ที่มา/ภูมิหลัง
-Web เชื่อมโยง
-Mind mapping
-เป้าหมาย
-ที่มา/ภูมิหลัง
-Web เชื่อมโยง
-Mind mapping
เช้าวันอาทิตย์ที่ 23 เมษายน 2560
DAY 2
เริ่มต้นเช้าวันใหม่ด้วยการกล่าวทักทาย
“สวัสดี”
-เพลงความเกรงใจ
-16
ท่ารักงอมแงม
จิตวิทยาแบบโยคะ
-ท่าจระเข้
-ท่าตั๊กแตน
-ท่าหงษ์
-ท่าปลาดาว


โยคะท่าปลาดาว
โยคะท่าเก้าอี้
โยคะท่าหงษ์
และต่อด้วยการถ่ายทอดอารมณ์ และความรู้สึกกับคนที่อยู่ตรงหน้าของเรา เป็นคนพูดที่น่ารัก และเป็นผู้ฟังอย่างตั้งใจ
ต่อด้วยการเรียนรู้วิถีชีวิตของโรงเรียนและดู
Video
ของโรงเรียน
จิตวิทยาเชิงบวก
(เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์)
ใจนำทาง
ครูใหญ่เล่าเรื่องของ
-Unabomber
(Ted kaczynsk) สร้างละเบิดส่งไปที่มหาลัยและสนามบิน
-เรื่องที่เกี่ยวกับการแข่งขัน ของคุณหมอที่เป็นมะเร็ง มีชีวิตอยู่ได้ 4
เดือน ใช้ชีวิตตั้งแต่เด็กมองคนอื่นเป็นคู่แข่งตลอด
จิตวิทยากับมนุษย์
-การสร้างคุณค่า
-การทำลายคุณค่า
ลด
-การเปรียบเทียบการตีค่า
-คำพูดด้านลบ (ฉายาเป็นปมด้อย)
-ความกลัว
-ใช้ความรุนแรง
-ยัดเยียดความรู้
ลดคุณค่าความเป็นมนุษย์
-เคารพ
-ให้เกียรติ
-ศรัทธา
ภาพพจน์ด้านบวก
-คุณค่า
-ความสามารถ
-ความรัก
การปรับพฤติกรรมโดยใช้เชิงบวก
ให้การรู้ตัว =เล่าให้ฟังหน่อย
ให้การเรียนรู้ = ตั้งคพถามแก้ไขปัญหา
สร้างพลังสงบ = ความผ่อนคลายจากข้างใน
ให้การรู้ตัว =เล่าให้ฟังหน่อย
ให้การเรียนรู้ = ตั้งคพถามแก้ไขปัญหา
สร้างพลังสงบ = ความผ่อนคลายจากข้างใน
เรียนรู้การออกแบบกิจกรรม
2
รูปแบบ
1.จิตศึกษา
ภาคเช้า
20
นาที
บ่าย
15
นาที
เลิกเรียน
30
นาที
2.รูปแบบบูรณาการ
จิตศึกษา
(ออกแบบกิจกรรม)
1.ขั้นเตรียม (มีสติรู้ตัวสิ่งที่ทำ)
2.ขั้นกิจกรรม (เห็นความสัมพันธ์ของตัวเองกับสรรพสิ่ง)
3. (ขอบคุณคนอื่นหรือสิ่งอื่น)
ครูให้ทำแผนการจัดกิจกรรมจิตศึกษาคนละ 2
แผน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา”
เป้าหมาย
|
กิจกรรม
|
สื่อ / อุปกรณ์
|
ขั้นเตรียม :
-รู้ตัว มีสติ
มีสมาธิ
จิตจดจ่อ
|
กิจกรรม : กระดาษเล่าเรื่อง
ขั้นเตรียม (5นาที)
- ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลมและไหว้ทักมายกันด้วยความนอบน้อม
- Brain Gym (นับเป็ด 10 ตัว,
จีบ-แอล 10ครั้ง)
-
ครูให้นักเรียนปิดเปลือกตาลงช้าๆอย่างมีสติ
หายใจเข้ายาวๆและหายใจออกช้าๆ 2-3 ครั้ง
เพื่อรับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกข้างที่ชัดเจน
แล้วรับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-
ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา 2-3 ครั้งเพื่อปรับแสงและพร้อมทำกิจกรรม
|
-กระดาษรีไซเคิล
|
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ฟังและสิ่งที่ทำอยู่
-เห็นความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงระหว่างตนเอง และสิ่งต่างๆรอบตัว
-การเห็นคุณค่าในตนเอง ผู้อื่นและสิ่งต่างๆรอบตัว
-การยอมรับและเคารพในความแตกต่าง
|
ขั้นกิจกรรม
(15นาที)
-ครูเตรียมกระดาษรีไซเคิลที่เลิกใช้แล้วมาให้นักเรียน
-ครูส่งตะกร้ากระดาษให้นักเรียน นักเรียนหยิบคนละหนึ่งแผ่น
ไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
-ครูให้นักเรียนฉีกกระดาษที่ได้เป็นรูปสัตว์ต่างๆที่ตนเองชอบในวัยเด็ก
-ครูให้นักเรียนเล่าเรื่องจากผลงานของตนเองพร้อมเหตุผลที่ชอบ
-นักเรียนส่งอุปกรณ์กลับมาที่ครู
นักเรียนรับไหว้ซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
|
ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
|
ขั้นจบ (5นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา”
เป้าหมาย
|
กิจกรรม
|
สื่อ / อุปกรณ์
|
ขั้นเตรียม :
-ฝึกการมีสติ รู้ตัว
|
กิจกรรม : นิ้วมือวิเศษ
ขั้นเตรียม
(5นาที)
- ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลม
จับมือเพื่อนๆที่อยู่ข้างแล้วปิดเปลือกตาช้าๆ มีสติ รับรู้ลมหายใจที่ปลายจมูก
-ครูกระตุ้นการเรียนรู้ด้วย Brain Gym นับ 1-10
และ 16 ท่ารักงอมแงม
|
-กระดาษ A4
-ปากกาสี
-เพลง 16 ท่ารักงอมแงม
|
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ฟังและสิ่งที่ทำอยู่
-เห็นความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงระหว่างตนเอง
คนในครอบครัวและสิ่งต่างๆรอบตัว
-การเห็นคุณค่าในตนเอง ผู้อื่นและสิ่งต่างๆรอบตัว
-การยอมรับและเคารพในความแตกต่าง
|
ขั้นกิจกรรม
(15นาที)
-ครูส่งอุปกรณ์ ให้นักเรียนหยิบคนละ 1 ชุด (กระดาษ A4 1 แผ่น,ปากกาสี 1
ด้าม) โดยส่งเวียนขวามือจนกลับมาถึงคุณครู
ก่อนจะรับส่งอุปกรณ์ทุกคนจะไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันด้วยความนอบน้อม
เมื่อได้รับอุปกรณ์แล้วทุกคนจะวางไว้ด้านหน้าของตนเอง
-ครูให้นักเรียนวางมือทาบลงบนกระดาษแล้ววาดรูปฝ่ามือของตนเองโดยใช้ปากกาสี
จากนั้นให้เขียนว่ามีใครบ้างที่มีพระคุณกับเราตั้งแต่เด็กจนโต ให้เขียนจนครบทั้ง
5 นิ้วมือที่วาด
-นักเรียนเขียนและวาดรูปสร้างสรรค์ชิ้นงาน
-นักเรียนนำเสนอชิ้นงาน ร่วมแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน
-นักเรียนส่งอุปกรณ์กลับมาที่ครู นักเรียนรับไหว้ซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
|
ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
|
ขั้นจบ (5นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
บ่าย
13.00
เป็นต้นไป
Body
scan (เล่าเรื่องราว) ต่อด้วยการทำ PBL
ต่อจากเมื่อวาน
กิจกรรม PBL ทั้ง 21 weeks
จิตศึกษา ครูหมิว ห้อง ป.1
กิจกรรม PBL ทั้ง 21 weeks
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
1 - 3
|
โจทย์
สร้างฉันทะ(กระตุ้นแรงบันดาลใจในการเรียนรู้)
สำรวจ
Key Question
นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ทุ่งนาของโรงเรียนฯ
- เมล็ดพันธุ์ข้าว
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- ผู้รู้
- ท่อปูนซีเมนต์
- ดินสำหรับเพาะปลูก
- ปุ๋ย
- ดิน
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันเกี่ยวข้าวคนละประมาณ 1 กำมือ จากแปลงนาหลังโรงเรียน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนมีวิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์และมีคุณภาพได้อย่างไร?”-ครูให้โจทย์ “นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ข้าว
- คัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าว
- ปรุงดินตามสูตรที่ได้ออกแบบไว้ พร้อมทั้งเพาะต้นกล้า
ชิ้นงาน
- เมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์จำนวน 5 เมล็ด
- สูตรการปรุงดิน / ต้นกล้า
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
- นวัตกรรมใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตของข้าวจาก 5 เมล็ด ให้ได้ 2500 เมล็ด
- การคัดเลือกและคัดแยกเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ
- การตรวจสอบความเหมาะสมของต้นข้าวที่จะเจริญเติบโตในท่อปูนซีเมนต์
- วิธีการปรุงดินที่มีคุณภาพและการเพาะต้นกล้าที่ใช้สำหรับเพาะปลูก
ทักษะ
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิถีดั่งเดิมของชาวนาเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณภาพ
- สามารถวิเคราะห์ผลการตรวจสอบค่าความเป็น กรด-เบส ของท่อปูนซีเมนต์ ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกข้าวได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้ในทุกๆ ขั้นตอน ผ่านกระบวนการบันทึกและสร้างเป็นชิ้นงาน อาทิเช่น Flow chart ,เขียนบรรยายประกอบรูป วิดีโอสรุปการทำกิจกรรม ฯลฯ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- ความมีน้ำใจ
- มีความสามัคคี
- มีความซื่อสัตย์ สุจริต
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
1 - 3
|
โจทย์
สร้างฉันทะ(กระตุ้นแรงบันดาลใจในการเรียนรู้)
สำรวจ
Key Question
นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ทุ่งนาของโรงเรียนฯ
- เมล็ดพันธุ์ข้าว
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- ผู้รู้
- ท่อปูนซีเมนต์
- ดินสำหรับเพาะปลูก
- ปุ๋ย
- ดิน
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันเกี่ยวข้าวคนละประมาณ 1 กำมือ จากแปลงนาหลังโรงเรียน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนมีวิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์และมีคุณภาพได้อย่างไร?”-ครูให้โจทย์ “นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเพิ่มปริมาณเมล็ดข้าวจาก 5 เมล็ด ให้เป็น 2500 เมล็ด ในพื้นที่ที่จำกัด ได้อย่างไร?”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ข้าว
- คัดแยกเมล็ดพันธุ์ข้าว
- ปรุงดินตามสูตรที่ได้ออกแบบไว้ พร้อมทั้งเพาะต้นกล้า
ชิ้นงาน
- เมล็ดพันธุ์ข้าวที่สมบูรณ์จำนวน 5 เมล็ด
- สูตรการปรุงดิน / ต้นกล้า
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
- นวัตกรรมใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตของข้าวจาก 5 เมล็ด ให้ได้ 2500 เมล็ด
- การคัดเลือกและคัดแยกเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ
- การตรวจสอบความเหมาะสมของต้นข้าวที่จะเจริญเติบโตในท่อปูนซีเมนต์
- วิธีการปรุงดินที่มีคุณภาพและการเพาะต้นกล้าที่ใช้สำหรับเพาะปลูก
ทักษะ
ทักษะการเรียนรู้
- สามารถเรียนรู้และเชื่อมโยงเรื่องเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิถีดั่งเดิมของชาวนาเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณภาพ
- สามารถวิเคราะห์ผลการตรวจสอบค่าความเป็น กรด-เบส ของท่อปูนซีเมนต์ ที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกข้าวได้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการเรียนรู้ในทุกๆ ขั้นตอน ผ่านกระบวนการบันทึกและสร้างเป็นชิ้นงาน อาทิเช่น Flow chart ,เขียนบรรยายประกอบรูป วิดีโอสรุปการทำกิจกรรม ฯลฯ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- ความมีน้ำใจ
- มีความสามัคคี
- มีความซื่อสัตย์ สุจริต
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
4
|
โจทย์
วางแผนการเรียนรู้
- เลือกหัวข้อ
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind mapping ก่อนเรียน
Key Question
นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- กระดาษสี ขนาดครึ่ง A4
- กระดาษชาร์ต
- สารคดี Food Inc
|
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนต้องการเรียนรู้เรื่องอะไร?”
- ครูแจกกระดาษการ์ดให้นักเรียนแต่ละคน โดยให้นักเรียนเขียนเรื่องที่อยากเรียนรู้ โดย 1 เรื่อง ต่อการ์ด 1แผ่น (Card & Chart)
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่ต้องการศึกษา
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วกับสิ่งที่อยากรู้( Think Pair Share )
- ตั้งชื่อโครงงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
- ทำปฏิทินการเรียนรู้ 20 สัปดาห์
- เขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ดูสารคดี Food Inc
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเลือกหัวข้อโครงงานและออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- หัวข้อโครงงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้เกี่ยวกับหัวข้อTopic
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
อธิบายและปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ในการทำงานกลุ่มรวมทั้งรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น
ทักษะ
- ทักษะชีวิต- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ปฏิทินการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้น |
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
5 – 6
|
โจทย์
ประเภทของสารอาหาร / วิธีการตรวจสอบสารอาหารKey Questions
- นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด
-ให้นักเรียนทำอาหารเมนูที่ร่วมกันเลือกภายในห้อง
- นักเรียนคิดว่าเราสามารถตรวจสอบสารอาหาร ที่มีอยู่ในอาหารได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Mind mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- เมนูอาหารมื้อเช้า
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนคิดว่าอาหารมื้อเช้าที่นักเรียนทานบ่อยที่สุด เป็นเมนูใด?”
- นักเรียนแต่ละคนเลือกเมนูอาหารที่ตนเองทานบ่อยที่สุดคนละ 1 เมนู พร้อมบันทึกลงในสมุดเล่มเล็ก
-นักเรียนลงมือปฏิบัติในการประกอบอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบสารอาหาร(สารอาหาร 5หมู่)
- ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับสารอาหารและการตรวจสอบสารอาหารประเภทต่างๆ
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
- นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
ชิ้นงาน
- Mind Mapping, ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายประเภทขอสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะสังคม
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอข้อมูลที่สืบค้นในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น Mind Mapping,ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง ฯลฯ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
.
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “กินเป็นปลูกเป็น” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 /2557
...................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| |||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| ||
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย
|
มาตรฐาน ว 1.1
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1ม.1/7)
- สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้ (ศ 1.1 ม.1/1)
- สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
( ศ 1.1ม.1/2)
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
|
มาตรฐาน พ 1.1
- สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 ม.1/1)
- สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ 1.1ม.1/2)
- สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้ (พ1.1 ม.1/3, 4)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
- ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 ม.1/2)
- สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้ (ง 1.1 ม.2/1)
- สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
...........................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| ||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| |
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดูVDO การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้ (ศ 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
- สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
- สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
|
- สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้
(พ 1.1 ม.2/1)
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ1.1ม.2/2)
- สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้ (พ1.1 ม.3/1)
- สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ (พ 1.1 ม.4-6/2)
- สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
(พ 2.1ม.1/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
- สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
- มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
(ง 3.1 ม.1/2)
- สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1 ม.1/2)
|
...............................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| |||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| ||||
- ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
- วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
- กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์
|
มาตรฐาน ว 8.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล
(ว8.1 ม.2/1 )
- นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
- สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้ (ว 8.1ม.1/4)
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 3.2
- ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1ม.1/4)
| |||
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| |||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| ||||
มาตรฐาน ว 3.1
- สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร (ว3.1ม.1/2)
- สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้ (ว3.1ม.1/1)
- สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
(ว3.1ม.1/3)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1ม.1/2)
| |||||||
- หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
- ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
- กระบวนการผลิตอาหารสัตว์ และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ
|
มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ (ว2.1ม.3/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
|
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
| |||
...................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| ||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| |
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง
|
ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
จิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
| ||
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต
|
มาตรฐาน ว 1.1
- ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
- อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7) -ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
|
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
|
................................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| ||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| |
- สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช
(ว1.1ม.1/9)
- ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช (ว1.1ม.1/10) - อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)
|
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
การทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
ปฏิทินแผนจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ (PBL) หน่วย : "กินเป็นปลูกเป็น "
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
12 - 14
|
โจทย์
การตรวจสอบไขมัน และการลดน้ำหนักในระยะเวลา 1 เดือน
Key Questions
- จากการทดลองหยดน้ำมันลงในแผ่นกระดาษ นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนอย่างไร
- นักเรียนจะมีวิธีการควบคุมอาหารประเภทไขมัน และแบ่งเวลาออกกำลังกายเพื่อลดน้ำหนักของตัวเอง ในระยะเวลา 1 เดือน ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- ภาพไทม์ไลน์ของคนจากอดีตมาสู่อนาคต โรคอ้วน
- กระดาษสีขาวบาง
- น้ำมันพืช
- อุปกรณ์ทดลอง
|
- นักเรียนนำเสนอสาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลทำให้คนในยุคปัจจุบันแตกต่างจากในอดีต
- นักเรียนวิเคราะห์สาเหตุต่างๆ ที่ส่งผลให้คนในอดีตร่างกายแข็งแรง และคนในยุคปัจจุบันมีร่างกายที่เต็มไปด้วยไขมัน(โรคอ้วน) place mat
- เขียนweb เชื่อมความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุหรือปัจจัย
ที่ส่งผลทำให้เกิดโรคอ้วน
- ทดลองหยดน้ำมันพืช 2-3 หยด ลงบนกระดาษ แล้วเกลี่ยหยดน้ำมันให้กระจาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูดคุยถึงมีวิธีทดลองเกี่ยวกับเรื่องไขมัน(น้ำมัน) อย่างไร
- สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึกผลการทดลอง
ชิ้นงาน
- ออกแบบตารางการควบคุมปริมาณอาหารไขมัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบไขมัน และการวิเคราะห์อาหารประเภทไขมัน ที่มีความเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายได้ รวมทั้งเข้าใจระบบการทำงานของหัวใจ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอวิธีการลดปริมาณอาหารประเภทไขมันและการออกกำลังกาย 1 เดือน เพื่อลดน้ำหนัก
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
15 - 17
|
โจทย์
-สารอาหารวิตามิน เกลือแร่ และกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่
-กระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
Key Question
- นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เกมผัก ผลไม้นานาชนิด
- ภาพประโยชน์สารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- คอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหาร
|
- ครูพานักเรียนเลนเกมเกี่ยวกับผลไม้ชวนคิด
- แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มละเท่าๆ กัน ครูแจกกระดาษปรู๊ฟให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนจัดหมวดหมู่รสชาติผลไม้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนคิดว่าข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสารอาหารประเภทวิตามินกับเกลือแร่มีอะไรบ้าง?”
- ครูชวนคุยเกี่ยวกับประโยชน์จากอาหารประเภทผักผลไม้
- นักเรียนสร้างชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น การ์ตูนช่อง , fort chart , Mind mapping ฯลฯ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- เล่นเกมผัก ผลไม้ชวนคิด
- สืบค้นข้อมูลการตรวจสอบสารอาหาร
- อภิปรายกระบวนการตรวจสอบ
ชิ้นงาน
- ชาร์ตความรู้เกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- สร้างชิ้นงานกระบวนการตรวจสอบสารอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับอาหารที่จัดอยู่ในประเภทวิตามินและเกลือแร่ ประโยชน์จากอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร่ที่ค่อยช่วยเป็นตัวเร่งและควบคุมปฏิกิริยาต่าง ๆ รักษาความสมดุลของกรด ด่าง และน้ำในร่างกาย ช่วยในการรับ-ส่งประสาทความรู้สึก ควบคุมการรัดหดตัวของกล้ามเนื้อ ตลอดจนช่วยในการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมเกมผัก ผลไม้และนำเสนอวิธีการตรวจสอบสารอาหารวิตามินและเกลือแร่
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
........................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
18
|
โจทย์
- การเลือกซื้อ
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
Key Questions
- นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง
- นักเรียนคิดว่าเครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความเกี่ยวข้องกับอาหารที่เราเลือกซื้อมารับประทานอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- place mat
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ภาพเกี่ยวกับผู้ซื้อ เลือกอาหารตามท้องตลาด
- ภาพสัญลักษณ์ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- คอมพิวเตอร์
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
- นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้อสิ้นค้าอย่างปลอดภัย
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก. มีความสำคัญอย่างไรกับผู้บริโภค
ชิ้นงาน
- placemat
การเลือกซื้ออาหารอย่าง
ปลอดภัยต่อผู้บริโภค
- ชาร์ตเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจการเลือกซื้ออาหารอย่างมีวิจารณญาณ และกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะ ICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมการเลือกซื้ออาหารอย่างปลอดภัย และอภิปรายกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
19 - 20
|
โจทย์
- นำเสนอโดยสารคดี หนังสั้น เพลง
- จัดนิทรรศการอาหารสุขภาพ จัดแสดงผลิตภัณฑ์สินค้า(เปิดตลาด)
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าจะนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนมาตลอด 18 สัปดาห์ ในรูปแบบใด
- นักเรียนจะทำอาหารอะไรบ้าง เพื่อมาเปิดตลาดจัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- เมนูอาหารต่างๆ
- รูปแบบการเปิดตลาด
- สินค้า
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรบ้าง?”
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหาร
- นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ เครื่องหมาย อย. เครื่องหมาย มอก.
- นักเรียนนำข้อมูลที่ได้มาสร้างชิ้นงานชาร์ตความรู้เกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสรุปชิ้นงานผ่านสารคดี หนังสั้น เพลง
- ช่วยกันคิดวางแผนการเปิดตลาด เพื่อจัดจำหน่ายสินค้า
- นักเรียนขายอาหารที่ร่มไผ่(เปิดตลาด)
- จัดนิทรรศการให้ความรู้ในชุมชน
ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้ผ่านสารดดี หนังสั้น เพลง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายได้เกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้ที่เรียนมาถ่ายทอดผ่านสารคดี หนังสั้น เพลง ถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะICT
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์กิจกรรมออกแบบพื้นที่จัดจำหน่ายอาหารบริเวณร่มไผ่
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
.............................
Week
|
Input
|
Possess
|
Output
|
Outcome
|
PBL คู่ขนาน
|
21
|
โจทย์
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- ประเมินตนเอง
Key Question
นักเรียนจะสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)อย่างไร
จัดจำหน่ายสินค้า
เครื่องมือคิด
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู/ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- กระดาษA3 , A4
- สี ปากกา ไม้บรรทัด
|
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะสรุป Mind Mapping(หลังเรียน)อย่างไร”
- นักเรียนเขียนสรุป Mind Mapping(หลังเรียน) และตอบคำถามสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสรุปการประเมินตนเอง สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่จะนำไปพัฒนาตัวเองเพิ่มเติมในภาคเรียนหน้า
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- นักเรียนเขียน Mind Mapping(หลังเรียน)
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียน เขียนประเมินตนเองตลอด 1 ภาคเรียน
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- Mind Mapping(หลังเรียน)
- เขียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถสรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ
-ทักษะการวางแผน
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับการสรุปองค์ความรู้(หลังเรียน)
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ปลูกข้าว 5 เมล็ด ให้ได้2,500 เมล็ด
ในพื้นที่จำกัด |
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “กินเป็นปลูกเป็น” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 /2557
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| ||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| |
ระบบการทำงานของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์
อาทิเช่น ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบทางเดินหายใจและไหลเวียนโลหิต
ระบบประสาท
ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่ายของเสีย
|
มาตรฐาน ว 1.1
- สามารถอธิบายความสัมพันธ์ของการทำงานและอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกายได้ (ว1.1 ม.1/7)
- สามารถอธิบายผลที่เกิดขึ้นกับระบบการทำงานส่วนต่างๆของระบบทางเดินหายใจและระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบประสาท ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่ายของเสียได้
(ว1.1 ม.1/5)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้ (ศ 1.1 ม.1/1)
- สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
( ศ 1.1ม.1/2)
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1 ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
|
มาตรฐาน พ 1.1
- สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ 1.1 ม.1/1)
- สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ 1.1 ม.1/2)
- สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้ (พ 1.1 ม.1/3, 4)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- สามารถวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานตามกระบวนการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายได้
(ง 1.1 ม.1/1)
- ได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงานด้วยความเสียสละ
(ง 1.1 ม.1/2)
- สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้ (ง 1.1 ม.2/1)
- สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
..........
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| ||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| |
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
- สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้ (ศ 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
- สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
- สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ 3.2 ม.1/1)
|
- สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้
(พ 1.1 ม.2/1)
- สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ 1.1ม.2/2)
- สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้ (พ 1.1 ม.3/1)
- สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ (พ 1.1 ม.4-6/2)
- สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
(พ 2.1ม.1/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
- สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
- มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้
(ง 2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
- สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
(ง 3.1 ม.1/2)
- สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้
(ง 3.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1 ม.1/2)
|
....................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| |||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| ||||
- ความต้องการอาหารประเภทเนื้อสัตว์
- วางแผนในการรับประทานอาหารอย่างเป็นสัดส่วนและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
- กระบวนการตรวจสอบสารต่างๆที่อยู่ในอาหารและชีวิตประจำวัน โดยมีแหล่งที่มาจากพืชและสัตว์
|
มาตรฐาน ว 8.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล
(ว8.1 ม.2/1 )
- นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
- สามารถรวบรวมข้อมูลและความรู้ที่ได้จากการทดลองได้ (ว 8.1 ม.1/4)
- สามารถวิเคราะห์และประเมินผลการทดลองที่ได้ภายหลังจากที่ทดลองเรียบร้อยแล้วอย่างสมเหตุสมผล
โดยผลที่ได้ก็เป็นไปตามทฤษฏีที่ตั้งไว้
(ว 8.1 ม.1/5)
มาตรฐาน ว 3.2
- ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7
|
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
| |||
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| |||||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| ||||
มาตรฐาน ว 3.1
- สามารถอธิบายสมบัติ
และการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร (ว3.1ม.1/2)
- สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้ (ว3.1ม.1/1)
- สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
(ว3.1ม.1/3)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้ (ส 3.1 ม.1/2)
| |||||||
- หมวดหมู่ของสัตว์ประเภทต่างๆ
- ประชากรสัตว์เลี้ยงที่เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ในชุมชน
- กระบวนการผลิตอาหารสัตว์ และเป็นอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพ
|
มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ (ว2.1ม.3/1)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อ
|
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมี
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
| |||
..................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| ||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| |
กฎหมายควบคุมผู้บริโภครวมถึงสิทธิต่างๆที่ทั้งมนุษย์และสัตว์พึ่งจะต้องได้รับการดูแลคุ้มครอง
|
ถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
จิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
| ||
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบต่างๆพร้อมทั้งเข้าใจความเกี่ยวข้องระหว่างพืชกับสิ่งมีชีวิตอื่นในด้านการดำรงชีวิต
|
มาตรฐาน ว 1.1
- ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช (ว1.1ม.1/6)
- อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (ว1.1ม.1/7)
-ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช(ว1.1ม.1/8)
|
มาตรฐาน ศ1.1
- สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้
(ศ1.1ม.1/5)
- วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราว
ต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
|
มาตรฐาน พ 3.2
- นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
|
มาตรฐาน ง.1.1
- นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้ เพื่อพัฒนาการทำงานได้
(ง.1.1 ม.2/ 1)
มาตรฐาน ง.3.1
- นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิตประจำวัน ตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ ความรับผิดชอบ (ง.3.1 ม.3/ 4)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1 ม.1/1)
- ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1 ม.1/2)
- นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันใน
|
..................
เนื้อหา
|
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
| ||||
วิทยาศาสตร์
|
ศิลปะ
|
สุขศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
สังคมศึกษา
| |
- สังเกตและอธิบายโครงสร้าง
ที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช
(ว1.1ม.1/9)
- ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช (ว1.1ม.1/10)
- อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)
|
- สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ (ศ1.1ม.3/6)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
|
มาตรฐาน ง.4.1
- เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ (ง.4.1 ม.1/ 3)
- ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง (ง.4.1 ม.3/ 3)
|
การทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
- นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ (ส 2.1 ม.1/4)
|
เช้าวันอาทิตย์ที่ 24 เมษายน 2560
DAY 3
ภาพกิจกรรม
จิตศึกษา ครูหมิว ห้อง ป.1
จิตศึกษา การเล่านิทานจากกระดาษที่พับ
ครูเหมี่ยว,ครูฟ้า
ต่อด้วยการทำ Body Scan แบบยืน หลังจากครูได้ให้จับคู่กับคนข้างๆได้ทดลองพูดตามสคิรปในการทำ Body Scan สลับกันพูดคนละครั้ง แล้วได้ลองเขียนแผน ฺBody Scan โดยให้เลือกว่าจะเอาแผน แบบนั่ง นอน หรือยืน ให้เลือกทำหนึ่งอย่าง
การทำ Body Scan แบบยืน
การลองทำ Body Scan แบบนอน
Body Scan แบบนอน
ขั้นเตรียม
:
ทุกคนนอนหงายขาเหยียดตรง
มือวางไว้ข้างๆลำตัวค่อยปิดเปลือกตาลงเบาๆ หายใจเข้าลึกๆ หายใจออกช้าๆ สัก 2-3
ลมหายใจ
ขั้นผ่อนคลาย
: ร่างกายทุกส่วนของเราผ่อนคลาย
รู้สึกที่กล้ามเนื้อบริเวณหัวคิ้วทั้งสองข้าง คิ้วที่ขมวดอยู่ค่อยๆคลายออก ค่อยๆคลายกล้ามเนื้อบริเวณแก้มทั้งสองข้าง
แก้มที่เกร็งอยู่ค่อยๆผ่อนคลาย ให้รู้สึกเบาสบายผ่อนคลายและมีความสุข ผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณริมฝีปาก
ปากที่เม้มอยู่ค่อยๆคลายออกให้รู้สึกเบาสบายผ่อนคลายและมีความสุข
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อแขนทั้งสองข้าง แขนที่ช่วยในการทรงตัวของเราให้ได้พักผ่อน
ผ่อนคลายกล้ามเนื้อมือทั้งสองข้างค่อยๆคลายนิ้วมือแต่ละนิ้วให้ได้ผ่อนคลายเบาสบาย
อิ่มเอมและมีความสุข
ผ่อนคลายกล้ามเนื้ออกของเราให้ผ่อนคลายค่อยๆไล่ความรู้สึกมาที่ท้องของเรา
หายใจเข้าท้องพอง หายใจออกท้องยุบลง (ซ้ำ 2 ครั้ง) รู้สึกที่กล้ามเนื้อขาทั้งสองข้าง
ขาที่ช่วยนำพาเราไปในที่ต่างๆ รู้สึกเบาสบาย ผ่อนคลายและมีความสุข ไล่ความรู้สึกมาที่เท้าของเราทั้งสองข้าง
เท้าที่คอยรับน้ำหนักของเรา พาเราไปในที่ต่างๆ ได้ผ่อนคลาย เบาสบาย
อิ่มเอมและมีความสุข ค่อยๆคลายนิ้วเท้าแต่ละนิ้ว ให้รู้สึกผ่อนคลาย
เริ่มจากเท้าซ้าย ไปเท้าขวา จากนั้นเราจะจินตนาการว่าเรากำลังเดินทางไปที่ทะเลแห่งหนึ่ง
ทะเลแห่งนี้ถูกปกคลุมไปด้วยชายหาดสีขาว พี่ๆแต่ละคนค่อยๆก้าวเท้าลงไปในชายหาด
เรารู้สึกถึงความนุ่มนวลของหาดทรายที่อยู่ใต้เท้าของเรา เราค่อยๆเดินไปเรื่อยๆ
ทีละก้าว ทีละก้าว เราสัมผัสได้ถึงความบริสุทธิ์ของอากาศที่อยู่รอบตัวเรา
เรารู้สึกสดชื่น ผ่อนคลาย เบาสบายและมีความสุข พี่ๆแต่ละคนค่อยๆนอนลงบนหาดทราย
สูดอากาศบริสุทธิ์ รับพลังงานจากทุกสรรพสิ่ง และค่อยๆปิดเปลือกตาลงเบาๆ
เราสัมผัสได้ถึงความนุ่มนวลของหาดทราย แต่ละคนค่อยๆหลับ ลึกลงๆเพื่อพักผ่อนร่างกาย
(3-5 นาที)
** ใส่ข้อมูล : ขอบคุณตัวเราเองที่ตั้งใจทำสิ่งต่างๆ
ขอบคุณเราและเพื่อนของเราที่ช่วยกันทำสิ่งต่างๆในวันนี้จนกระทั่งประสบผลสำเร็จ
ขอบคุณน้ำใจที่เราได้รับและส่งต่อให้กับผู้อื่น
ขอบคุณเวลาที่ดำเนินผ่านไปอย่างมีความสุข ขอบคุณทุกโอกาสที่เรามอบให้ซึ่งกันและกัน
ขั้นปลุก :
ทุกคนค่อยๆกลับมา รู้สึกที่เท้าของเราทั้งสองข้าง
ขยับเท้าของเราเบาๆ กลับมา รู้สึกที่มือของเราทั้งสองข้าง ค่อยๆขยับมือของเรา
ค่อยๆเปิดเปลือกตาของเราทั้งสองข้าง และกระพริบตาหลายครั้งให้เข้ากับแสง
ค่อยๆหันหน้าไปหาเพื่อนของเราข้างๆยิ้มให้ซึ่งกันและกัน แต่ละคนค่อยๆพลิกตัวไปด้านซ้ายและดันตัวเองขึ้นมานั่งเป็นวงกลม
Brain Gym:
แต่ละคนใช้นิ้วมือ ค่อยๆเคาะบริเวณ ศรีษะ ไล่ลงมาที่ไหล่ และแขนทั้งสองข้าง
(เคาะด้านซ้าย, ด้านขวา)
การเขียน Timeline การเรียนรู้ ช่วงวันที่ 21 เม.ย -14 พ.ค 60
เช้าวันจันทร์ที่ 25 เมษายน 2560
DAY 4
ครูภร ห้อง ป.1
ใช้เพลงเก็บเด็กด้วยเพลง "ความเกรงใจ" แบบมีเสียง และไม่มีเสียง
-นับ 1-10
แนะนำอุปกรณ์
1.แก้วน้ำ
2.กระดาษ
3.ปากกาสี
ครูภรนำแก้วน้ำไปวางไว้ตรงกลางแล้วถามคำถาม เห็นแก้วน้ำแล้วนึกถึงอะไร? ถ้าเปรียบชีวิตเราเหมือนแก้วน้ำเราจะนึกถึงอะไร?
ครูมีพี่กระดาษ และพี่ปากกามาแจกให้
-ให้ทุกคนเปรียบเราเหมือนแก้วน้ำจะเปรียบหรือนึกถึงอะไรในชีวิต ให้เขียนลงบนพี่กระดาษและนำเสนอผลงานของตนเอง
-ครูกล่าวชื่นชม empower
ห้องประชุม
เช้าวันจันทร์ที่ 25 เมษายน 2560
DAY 4
ครูภร ห้อง ป.1
ใช้เพลงเก็บเด็กด้วยเพลง "ความเกรงใจ" แบบมีเสียง และไม่มีเสียง
-นับ 1-10
แนะนำอุปกรณ์
1.แก้วน้ำ
2.กระดาษ
3.ปากกาสี
ครูภรนำแก้วน้ำไปวางไว้ตรงกลางแล้วถามคำถาม เห็นแก้วน้ำแล้วนึกถึงอะไร? ถ้าเปรียบชีวิตเราเหมือนแก้วน้ำเราจะนึกถึงอะไร?
ครูมีพี่กระดาษ และพี่ปากกามาแจกให้
-ให้ทุกคนเปรียบเราเหมือนแก้วน้ำจะเปรียบหรือนึกถึงอะไรในชีวิต ให้เขียนลงบนพี่กระดาษและนำเสนอผลงานของตนเอง
-ครูกล่าวชื่นชม empower
ห้องประชุม
ช่วงบ่าย
รวบรวมงานทั้งหมดลงบล็อกเหมือนเดิมให้เรียบร้อยของแต่ละวัน แล้วทำแผนจิตศึกษาเพิ่มอีก 3 แผน ให้ครบทั้ง 5 วัน
รวบรวมงานทั้งหมดลงบล็อกเหมือนเดิมให้เรียบร้อยของแต่ละวัน แล้วทำแผนจิตศึกษาเพิ่มอีก 3 แผน ให้ครบทั้ง 5 วัน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ “จิตศึกษา”
เป้าหมาย
|
กิจกรรม
|
สื่อ / อุปกรณ์
|
ขั้นเตรียม :
-ฝึกการมีสติ รู้ตัว
|
กิจกรรม : โยคะ
ขั้นเตรียม
(5นาที)
- ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลม
- ครูและนักเรียนไหว้ทักทากันอย่างนอบน้อม
- ครูพานักเรียนกลับมารับรู้ที่ลมหายใจของตนเอง 2-3 ลมหายใจ
|
- บรรเลงเพลงพัฒนาคลื่นสมอง
|
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ฟังและสิ่งที่ทำอยู่
-ฝึกการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
-ฝึกการหายใจเข้าออกอย่างถูกวิธี
|
ขั้นกิจกรรม
(15นาที)
-ครูและนักเรียนเตรียมความพร้อม ด้วยท่ายืนตัวตรงกำหนดลมหายใจ เข้า ออก
สัก 4-5 ลมหายใจ
-ครูเล่าเรื่องเชื่อมโยงเข้าสู่ท่าโยคะต่างๆ ในแต่ละท่าให้ทำเป็นคู่ 2
คน
1.ยืน (แต่ละท่าให้ทำ
2 รอบ)
-ท่าเครื่องบิน -ท่าไหว้พระอาทิตย์
-ท่าเก้าอี้ -ท่าต้นไม้
2.นั่ง (แต่ละท่าให้ทำ 2 รอบ)
-ท่าเต่า
-ท่าผีเสื้อ
-ท่าหงส์
3.นอน (แต่ละท่าให้ทำ 2 รอบ)
-ท่าจระเข้
-ท่าตั๊กแตน
-ท่าคันธนู
-ท่างูใหญ่
-ท่าปลาดาว เป็นท่าสุดท้ายในการให้นักเรียนได้ผ่อนคลายร่างกายของตนเอง 5
นาที
-คุณครูให้นักเรียนลุกขึ้นมานั่งเป็นวงกลม
-ครูกระตุ้นการเรียนรู้ด้วยการนวดกดจุด
|
|
ขั้นจบ
-การเคารพคุณค่าตนเองและผู้อื่น
|
ขั้นจบ (5นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนแสดงความเคารพ ขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา”
เป้าหมาย
|
กิจกรรม
|
สื่อ / อุปกรณ์
|
ขั้นเตรียม :
-รู้ตัว มีสติ
มีสมาธิ
จิตจดจ่อ
|
กิจกรรม : ความทรงจำในวัยเด็ก
ขั้นเตรียม (5นาที)
- ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลมและไหว้ทักมายกันด้วยความนอบน้อม
- Brain Gym (นับเป็ด 10 ตัว,
จีบ-แอล 10 ครั้ง,กลมและเหลี่ยม)
-
ครูให้นักเรียนปิดเปลือกตาลงช้าๆอย่างมีสติ
หายใจเข้ายาวๆและหายใจออกช้าๆ 2-3 ครั้ง
เพื่อรับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกข้างที่ชัดเจน
แล้วรับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-
ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา 2-3 ครั้งเพื่อปรับแสงและพร้อมทำกิจกรรม
|
-ปากกาสี
-ใบไม้แห้ง
|
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ฟังและสิ่งที่ทำอยู่
-เห็นความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงระหว่างตนเอง และสิ่งต่างๆรอบตัว
-การเห็นคุณค่าในตนเอง ผู้อื่นและสิ่งต่างๆรอบตัว
-การยอมรับและเคารพในความแตกต่าง
|
ขั้นกิจกรรม
(15นาที)
-ครูเตรียมใบไม้แห้งกับปากกาสีมาให้นักเรียน
-ครูส่งตะกร้าอุปกรณ์ใบไม้แห้งกับปากกาสีมาให้นักเรียน
นักเรียนหยิบคนละหนึ่งชุด ไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
-ครูตั้งคำถาม? (ตั้งแต่เด็กมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นกับเราบ้าง
,มีเหตุการณ์อะไรที่ทำให้เรามีทั้งความสุขและทุกข์ )
-ครูให้นักเรียนเขียนสิ่งที่ประทับใจในวัยเด็กลงบนใบไม้แห้ง
-ครูให้นักเรียนนำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์
-นักเรียนส่งอุปกรณ์กลับมาที่ครู
นักเรียนรับไหว้ซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
|
ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
-เคารพคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
|
ขั้นจบ (5นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
พัฒนาปัญญาภายในโดย “จิตศึกษา”
เป้าหมาย
|
กิจกรรม
|
สื่อ / อุปกรณ์
|
ขั้นเตรียม :
-รู้ตัว มีสติ
มีสมาธิ
จิตจดจ่อ
|
กิจกรรม : นิทานสามัคคี
ขั้นเตรียม (5นาที)
- ครูและนักเรียนนั่งเป็นวงกลมและไหว้ทักมายกันด้วยความนอบน้อม
- Brain Gym (จีบ-แอล 10ครั้ง ,16 ท่ารักงอมแงม,กรรไกรขาผ้าไหม)
-
ครูให้นักเรียนปิดเปลือกตาลงช้าๆอย่างมีสติ
หายใจเข้ายาวๆและหายใจออกช้าๆ 2-3 ครั้ง
เพื่อรับรู้สัมผัสที่ปลายจมูกข้างที่ชัดเจน
แล้วรับรู้สัมผัสของลมหายใจอย่างต่อเนื่องไปอีกเป็นเวลา 2 นาที
-
ครูให้นักเรียนลืมตาขึ้นด้วยการขยับเปลือกตา 2-3 ครั้งเพื่อปรับแสงและพร้อมทำกิจกรรม
|
-กระดาษรีไซเคิล
|
ขั้นกิจกรรม
-มีสติ จดจ่อกับสิ่งที่ฟังและสิ่งที่ทำอยู่
-เห็นความสัมพันธ์และการเชื่อมโยงระหว่างตนเอง และสิ่งต่างๆรอบตัว
-การเห็นคุณค่าในตนเอง ผู้อื่นและสิ่งต่างๆรอบตัว
-การยอมรับและเคารพในความแตกต่าง
|
ขั้นกิจกรรม
(15นาที)
-ครูเตรียมกระดาษรีไซเคิลที่เลิกใช้แล้วมาให้นักเรียน
-ครูส่งตะกร้ากระดาษให้นักเรียน นักเรียนหยิบคนละหนึ่งแผ่น
ไหว้ขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
-ครูให้นักเรียนพับกระดาษเป็นรูปอะไรก็ได้
-ครูให้นักเรียนแต่ละคนบอกสิ่งที่ตัวเองพับทุกคน
-ครูให้นักเรียนทุกคนช่วยกันเล่านิทาน 1 เรื่องจากสิ่งที่ตนเองพับ
-ครูให้นักเรียนช่วยกันแต่งชื่อนิทานที่ช่วยกันเล่า
-นักเรียนส่งอุปกรณ์กลับมาที่ครู
นักเรียนรับไหว้ซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
|
ขั้นจบ
-ฝึกการมีสติรู้ตัว
-เคารพคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
|
ขั้นจบ (5นาที)
-ครูพูดเสริมแรงชื่นชม Empower ในความตั้งใจของทุกคน
-ครูและนักเรียนขอบคุณซึ่งกันและกันอย่างนอบน้อม
|
เช้าวันอังคารที่ 26 เมษายน 2560
DAY 5
เริ่มต้นช่วงเช้าด้วยการทำ "จิตศึกษา" ที่ห้องป.1 แต่วันนี้จะพิเศษตรงที่มีครูจทำจิตศึกโรงเรียนบ้านโทเอก มาเป็นผู้นำทำจิตศึกษาในวันนี้ คุณครูเริ่มต้นด้วยการกล่าวทักทาย สวัสดี ต่อด้วย Brain Gym เริ่มแนะนำอุปกรณ์ (ใบไม้,ปากกาสี,กระดาษ) และส่งอุปกรณ์ไปให้นักเรียนอย่างนอบน้อม หลังจากนั้นคุณครูนำตะกร้าใบไม้มาวางไว้ด้านหน้า แล้วถามว่า นักเรียนเห็นอะไรบ้างคะ? หลังจากนั้นครูครูตั้งคำถามอีกว่าถ้าเปรียบใบไม้ในชีวิตของคนเรา นักเรียนจะถึงอะไร โดยเขียนถ่ายทอดความรู้สึกลงกระดาษ จากนั้นให้แต่ละคนพูดนำเสนอผลงานที่สร้างสรรค์ ขั้นสรุปครู Empower ด้วยการกล่าวชื่นชมและปรบมือ
ห้องประชุม
ครูต๋อยพาทำ Brain Gym (16 ท่ารักงอมแงม, กรรไกรไข่ผ้าไหม, แมงมุมลาย) ขั้นเตรียมก่อนการเข้าสู่การเรียนรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์
หลังจากนั้นก็ถามว่า ทุกคนได้เรียนรู้อะไรจากกิจกรรมนี้
-เรียนรู้การแก้ปัญหา
-เรียนรู้การวิเคราะห์
ความรู้สึกเชิงจำนวน (ให้เด็กสามรถคำนวณการแก้ปัญหาได้)
- คุณครูตั้งคำถามก่อนการอธิบายวิธีการสอนว่า ความรู้สึกเชิงจำนวนหมายถึงอะไร? แล้วก็อธิบายวิธีการสอนคณิตศาสตร์ของชั้นอนุบาล เรียนรู้เรื่องจำนวนและภาษา ,การเล่น /สื่อจริง,สื่อสารให้เหตุผลได้ มีความเข้าใจและเจตคติที่ดี
- เรียนรู้การใช้สื่อแทนจำนวน รูปภาพ ,ตัวเลข, หน่วยจิ๋ว,แท่งสิบ, แผ่นร้อย
-วิชาภาษาไทยมีหลักการสอนโดยใช้วรรณกรรม
-เป็นการเรียนรู้โดยไม่ใช้แบบเรียน แต่ให้เรียนรู้ผ่านการใช้ภาษาจริง จากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลแวดล้อม เหตุการณ์จริง
3.ขั้นเทียบเคียง (การเล่นคำกับเสียง)
4.ขั้นแตกแขนง (เรียนรู้การสะกดคำ)
หน่วยการเรียนรู้
บูณาการ
-เนื้อหา
-ทักษะ
-กิจกรรม Active
-หลักภาษา
ครูต๋อยพูดเกี่ยวกับวิธีการประเมินผลงานนักเรียนตามสภาพจริง
1.เพื่อรู้เด็กและพัฒนาให้เจริญงอกงามทุกคน
2.- ตัดสินคะแนนในการให้เกรดเฉลี่ยเพื่อเทียบโอน
- เทียบเกณฑ์ Rubric
- เทียบเพื่อดูพัฒนาการ (ชิ้นแรก,ชิ้นกลาง,ชิ้นสุดท้าย)
ด้านการประเมิน
1.ด้านความรู้ 30%
2.ด้านทักษะ 40%
3.ด้านคุณลักษณะ 30%
ห้องประชุม
ครูต๋อยพาทำ Brain Gym (16 ท่ารักงอมแงม, กรรไกรไข่ผ้าไหม, แมงมุมลาย) ขั้นเตรียมก่อนการเข้าสู่การเรียนรู้เกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
ความรู้สึกเชิงจำนวน (ครูกลอย) เริ่มต้นด้วยการให้ช่วยกันคิดเติมเลข 1-9 ลงในช่องว่าง โดยที่ผลรวมของแนวตั้งและแนวนอนเท่ากันหลังจากนั้นก็ถามว่า ทุกคนได้เรียนรู้อะไรจากกิจกรรมนี้
-เรียนรู้การแก้ปัญหา
-เรียนรู้การวิเคราะห์
ความรู้สึกเชิงจำนวน (ให้เด็กสามรถคำนวณการแก้ปัญหาได้)
- คุณครูตั้งคำถามก่อนการอธิบายวิธีการสอนว่า ความรู้สึกเชิงจำนวนหมายถึงอะไร? แล้วก็อธิบายวิธีการสอนคณิตศาสตร์ของชั้นอนุบาล เรียนรู้เรื่องจำนวนและภาษา ,การเล่น /สื่อจริง,สื่อสารให้เหตุผลได้ มีความเข้าใจและเจตคติที่ดี
- เรียนรู้การใช้สื่อแทนจำนวน รูปภาพ ,ตัวเลข, หน่วยจิ๋ว,แท่งสิบ, แผ่นร้อย
วิชาภาษาไทย
ครูภรเริ่มต้นการให้ความรู้วิชาภาษาไทยด้วยการ ใช้เพลง นกกระจิบ นกกระจอก แล้วถามคำถามว่า คำว่า นก เขียนอย่างไรคะ? , มีมาตราใดเป็นตัวสะกด? แล้วถามว่าคำเป็นคำตายหมายถึงอะไร ใครชื่อเล่นเป็นคำเป็นให้ยืนขึ้น ส่วนคำตายให้นั่งลง หลังจากนั้นเริ่มเข้าสู่การให้ความรู้เกี่ยวกับ กระบวนการสอนวิชาภาษาไทย-วิชาภาษาไทยมีหลักการสอนโดยใช้วรรณกรรม
-เป็นการเรียนรู้โดยไม่ใช้แบบเรียน แต่ให้เรียนรู้ผ่านการใช้ภาษาจริง จากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลแวดล้อม เหตุการณ์จริง
เป้าหมาย
-ใช้ภาษาในการสื่อ - รับรู้ - ความต้องการ
-ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
-ใช้ภาษาในการรับรู้ - ถ่ายทอดอารยธรรม
-ใช้การรับรู้ - ถ่ายทอดการเข้าถึงสิ่งสูงสุด
ขั้นที่ 1
1.ขั้นรับรู้และเข้าใจความหมาย
2.รับรู้ใช้สัญลักษณ์แทนความหมาย3.ขั้นเทียบเคียง (การเล่นคำกับเสียง)
4.ขั้นแตกแขนง (เรียนรู้การสะกดคำ)
หน่วยการเรียนรู้
บูณาการ
-เนื้อหา
-ทักษะ
-กิจกรรม Active
-หลักภาษา
ครูต๋อยพูดเกี่ยวกับวิธีการประเมินผลงานนักเรียนตามสภาพจริง
1.เพื่อรู้เด็กและพัฒนาให้เจริญงอกงามทุกคน
2.- ตัดสินคะแนนในการให้เกรดเฉลี่ยเพื่อเทียบโอน
- เทียบเกณฑ์ Rubric
- เทียบเพื่อดูพัฒนาการ (ชิ้นแรก,ชิ้นกลาง,ชิ้นสุดท้าย)
ด้านการประเมิน
1.ด้านความรู้ 30%
2.ด้านทักษะ 40%
3.ด้านคุณลักษณะ 30%
Mind mapping สรุปการอ่านหนังสือ
จิตศึกษา
นอกกะลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น